วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดการห้องB



สมาชิกในชั้นเรียน


         อาจารย์  ธภัทร  ชัยชูโชค    อาจารย์  ปาล์ม


1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร   ไฟร์
2. นายจรณะ  แท่งทอง  เปา
3. นางสาวเฉลิมพร  ศรีมณี  เจล
4. นายชาติศิริ  รัตนชู  ติ๊บ
5. นายชินวัตร์  เพ็ชรโสม  แมน
6. นายณฐกร  ชัยปาน  โจ
7. นายณัฐกร  สงสม  จ๊อบ
8. นายณัฐพล  วงศ์สุขมนตรี  เกม
9. นางสาวทัศนีย์วรรณ  กาญจนโนภาส  ษา
10. นายธัณว้ตร์  แก้วบุษบา  ธัน
11. นายนราธร  จันทรจิตร  เนม
12. นางสาวนิชาภัทร  เพ็ชรวงศ์  แอม
13. นางสาวเบญญทิพย์  ฆังคสุวรรณ  อ้าย
14. นางสาวปัถยา  บุญชูดำ  ปัด
15. นายพศวัต  บุญแท่น  อ๊อฟ
16. นางสาวแพรพลอย  พรหมประวัติ  แพร
17. นายไฟซ้อล  ประชานิยม  ซอล
18. นายยศกร  บัวดำ  ทาย
19. นางสาวรัฐชา  วงศ์สุววรณ  เบญ
20. นายเรืองศักดิ์  ใหม่แก้ว  เอ็ม
21. นางสาววลีพร  ลิขิตธีระกุล  นุ๊ก
22. นายวาทิศ  อินทร์ปราบ  เบนซ์
23. นางสาววิภารัตน์  ดำสุข  ออม
24. นางสาวศศิธร  ชูปาน  จูน
25. นายสุภกิจ  ดิเลส   ดุก
26. นายเศรษฐชัย  ฐินะกุล  ตาล
27. นายสราวุธ  จันทร์แก้ว  ฟิลม์
28. นายสุชาครีย์  งามศรีตระกุล  เบนซ์
29. นายสุริยา  หวันสะเม๊าะ  ดิ่ง
30. นายอนันต์  อาแว  นัง
31. นายอนุวัช  นุ่นเอียด  กอลฟ์
32. นายอภิชัย  เสวาริท  บอล
33. นางสาวอรอุมา  หมากปาน  ญาญ่า
34. นายภูมิภัทร  สรรนุ่ม  อ้วน

วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบ AS / RS



AS/RS


    ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ (Automated Storage/Retrieval System เรียกโดยย่อว่า AS/RS)  คือ  การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ

ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
- Unit Load AS/RS
- Miniload AS/RS
- Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
- Automated Item Retrieval System
- Deep-Lane AS/RS

องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS
1.      โครงสร้างที่เก็บวัสดุ (Storage Structure)
2.      เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine)
3.      หน่วยของการเก็บวัสดุ (Storage Module)
4.      สถานีหยิบและฝากวัสดุ (Pickup and Deposit Station)

อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS
1.      รถเคลื่อนย้ายช่องทางขนส่งวัสดุ (Aisle Transfer Car)
2.      อุปกรณ์ตรวจสอบถังบรรจุวัสดุว่างเปล่า/เต็ม
3.      สถานีวัดขนาดโหลด (Sizing Station)
4.      สถานีบ่งชี้โหลด (Load Identification Station)

การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.      จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load
2.      หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3.      ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ

การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1.      ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2.      สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3.      ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4.      สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5.      ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6.      สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน

ระบบการจัดเก็บสินค้าและเรียกคืนสินค้าอัตโนมัติ Automated Storage/Retrieval System (AS/RS)
คือ ระบบบริหาร การจัดเก็บสินค้า เก็บวัตถุอัตโนมัติ เหมาะกับบริษัทที่ต้องการลดการใช้งานพื้นที่ หรือต้องการเพิ่ม ปริมาณในการจัดเก็บมากขึ้น เช่น คลังสินค้า, โกดังสินค้า, อาคารจอดรถอัตโนมัต, ห้องเก็บสมุดอัตโนมัติ เป็นต้น

ระบบ ASRS จะมีการทำงานควบคู่อัตโนมัติอย่างเป็นระบบอยู่ 2 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ใช้เทคโนโลยีโรบอทอัตโนมัติ
กับซอร์ฟแวร์ที่ สามารถพัฒนา นำไปใช้ได้กับทุกพื้นที่









ประโยชน์ที่จะได้รับ ลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้าลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้าเพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้าเพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้าทำงานรวดเร็ว แม่นยำบริหารทรัพยากรบุคคลประหยัดพลังงานไฟฟ้า




ข้อเสีย ของการตรวจวัดจากระยะไกล ที่เห็นได้ชัดมีอาทิเช่น
   1.  ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดำเนินการสูง โดยเฉพาะในการจัดหาสถานีติดตั้งและการสร้าง อุปกรณ์ตรวจวัด เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีระดับสูง
   2.  ต้องใช้ บุคลากร ที่ได้รับการฝึกฝนมาโดยเฉพาะในการดำเนินงาน เนื่องจากต้องการผู้ที่มีความรู้พื้นฐานที่ดีมากพอสำหรับการ บริหารจัดการ ระบบและการ ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลที่ได้
   3.  ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังขาด ความละเอียด เชิงพื้นที่มากพอ เนื่องมาจากเป็นการสำรวจจากระยะไกล   ทำให้การศึกษาในบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดอยู่มากพอควร
   4.  ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้จากหลายสาเหตุ ทั้งส่วนที่เกิดมาจากความบกพร่องของตัวระบบเอง และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทำการตรวจวัด







วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม


หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม


หุ่นยนต์ในการผลิต




หุ่นยนต์ในการเก็บกู่ระเบิด




หุ่นยนต์เรียนแบบมนุษย์





สมาชิกการจัดการห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน           อาจารย์  ธภัทร  ชัยชูโชค    อาจารย์  ปาล์ม 1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร    ไฟร์ 2. นายจรณะ  แท่งท...