วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

สมาชิกการจัดการห้องB



สมาชิกในชั้นเรียน


         อาจารย์  ธภัทร  ชัยชูโชค    อาจารย์  ปาล์ม


1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร   ไฟร์
2. นายจรณะ  แท่งทอง  เปา
3. นางสาวเฉลิมพร  ศรีมณี  เจล
4. นายชาติศิริ  รัตนชู  ติ๊บ
5. นายชินวัตร์  เพ็ชรโสม  แมน
6. นายณฐกร  ชัยปาน  โจ
7. นายณัฐกร  สงสม  จ๊อบ
8. นายณัฐพล  วงศ์สุขมนตรี  เกม
9. นางสาวทัศนีย์วรรณ  กาญจนโนภาส  ษา
10. นายธัณว้ตร์  แก้วบุษบา  ธัน
11. นายนราธร  จันทรจิตร  เนม
12. นางสาวนิชาภัทร  เพ็ชรวงศ์  แอม
13. นางสาวเบญญทิพย์  ฆังคสุวรรณ  อ้าย
14. นางสาวปัถยา  บุญชูดำ  ปัด
15. นายพศวัต  บุญแท่น  อ๊อฟ
16. นางสาวแพรพลอย  พรหมประวัติ  แพร
17. นายไฟซ้อล  ประชานิยม  ซอล
18. นายยศกร  บัวดำ  ทาย
19. นางสาวรัฐชา  วงศ์สุววรณ  เบญ
20. นายเรืองศักดิ์  ใหม่แก้ว  เอ็ม
21. นางสาววลีพร  ลิขิตธีระกุล  นุ๊ก
22. นายวาทิศ  อินทร์ปราบ  เบนซ์
23. นางสาววิภารัตน์  ดำสุข  ออม
24. นางสาวศศิธร  ชูปาน  จูน
25. นายสุภกิจ  ดิเลส   ดุก
26. นายเศรษฐชัย  ฐินะกุล  ตาล
27. นายสราวุธ  จันทร์แก้ว  ฟิลม์
28. นายสุชาครีย์  งามศรีตระกุล  เบนซ์
29. นายสุริยา  หวันสะเม๊าะ  ดิ่ง
30. นายอนันต์  อาแว  นัง
31. นายอนุวัช  นุ่นเอียด  กอลฟ์
32. นายอภิชัย  เสวาริท  บอล
33. นางสาวอรอุมา  หมากปาน  ญาญ่า
34. นายภูมิภัทร  สรรนุ่ม  อ้วน

วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบ AS / RS



AS/RS


    ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ (Automated Storage/Retrieval System เรียกโดยย่อว่า AS/RS)  คือ  การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ

ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
- Unit Load AS/RS
- Miniload AS/RS
- Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
- Automated Item Retrieval System
- Deep-Lane AS/RS

องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS
1.      โครงสร้างที่เก็บวัสดุ (Storage Structure)
2.      เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine)
3.      หน่วยของการเก็บวัสดุ (Storage Module)
4.      สถานีหยิบและฝากวัสดุ (Pickup and Deposit Station)

อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS
1.      รถเคลื่อนย้ายช่องทางขนส่งวัสดุ (Aisle Transfer Car)
2.      อุปกรณ์ตรวจสอบถังบรรจุวัสดุว่างเปล่า/เต็ม
3.      สถานีวัดขนาดโหลด (Sizing Station)
4.      สถานีบ่งชี้โหลด (Load Identification Station)

การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.      จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load
2.      หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3.      ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ

การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1.      ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2.      สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3.      ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4.      สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5.      ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6.      สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน

ระบบการจัดเก็บสินค้าและเรียกคืนสินค้าอัตโนมัติ Automated Storage/Retrieval System (AS/RS)
คือ ระบบบริหาร การจัดเก็บสินค้า เก็บวัตถุอัตโนมัติ เหมาะกับบริษัทที่ต้องการลดการใช้งานพื้นที่ หรือต้องการเพิ่ม ปริมาณในการจัดเก็บมากขึ้น เช่น คลังสินค้า, โกดังสินค้า, อาคารจอดรถอัตโนมัต, ห้องเก็บสมุดอัตโนมัติ เป็นต้น

ระบบ ASRS จะมีการทำงานควบคู่อัตโนมัติอย่างเป็นระบบอยู่ 2 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ใช้เทคโนโลยีโรบอทอัตโนมัติ
กับซอร์ฟแวร์ที่ สามารถพัฒนา นำไปใช้ได้กับทุกพื้นที่









ประโยชน์ที่จะได้รับ ลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้าลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้าเพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้าเพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้าทำงานรวดเร็ว แม่นยำบริหารทรัพยากรบุคคลประหยัดพลังงานไฟฟ้า




ข้อเสีย ของการตรวจวัดจากระยะไกล ที่เห็นได้ชัดมีอาทิเช่น
   1.  ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดำเนินการสูง โดยเฉพาะในการจัดหาสถานีติดตั้งและการสร้าง อุปกรณ์ตรวจวัด เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีระดับสูง
   2.  ต้องใช้ บุคลากร ที่ได้รับการฝึกฝนมาโดยเฉพาะในการดำเนินงาน เนื่องจากต้องการผู้ที่มีความรู้พื้นฐานที่ดีมากพอสำหรับการ บริหารจัดการ ระบบและการ ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลที่ได้
   3.  ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังขาด ความละเอียด เชิงพื้นที่มากพอ เนื่องมาจากเป็นการสำรวจจากระยะไกล   ทำให้การศึกษาในบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดอยู่มากพอควร
   4.  ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้จากหลายสาเหตุ ทั้งส่วนที่เกิดมาจากความบกพร่องของตัวระบบเอง และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทำการตรวจวัด







วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม


หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม


หุ่นยนต์ในการผลิต




หุ่นยนต์ในการเก็บกู่ระเบิด




หุ่นยนต์เรียนแบบมนุษย์





วันพุธที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560

เครื่องจักร NC


เครื่องจักร NC

คือ NC ( Numerical Control) จะถูกควบคุมการทํางานด้วยรหัส ที่ประกอบด้วยตัวเลข ตัวอักษร     และสัญลักษณ์อื่น ๆ ซึ่งรหัสเหล่านี้ จะถูกแปลงให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า จากนั้นจึงส่งไป กระตุ้นให้อุปกรณ์ทางไฟฟ้า เช็นมอเตอร์หรืออุปกรณีอื่น ๆ ทํางาน ทําให้เกิดการเคลื่อนที่ เครื่อง NC รุ่นแรก ๆ จะป้อนรหัสผ่านทาง Punched Card ต่อมามีการพัฒนามาเป็นการป้อนด้วย เทปกระดาษเจาะรู ต่อมาถึงยุคที่ คอมพิวเตอร์เฟื้องฟูจึงนําคอมพิวเตอร์มาเป็นตัวป้อนรหัสแทน เทป กระดาษ จึงเป็นที่มาของเครื่อง CNC (Computerized Numerical Control)


ลักษณะการทำงานของเครื่อง NC


       โปรแกรม    ------ หน่วยควบคุม  ----- เครื่องจักร

ข้อดี NC

     1. มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูง การเปลี่ยนงานใหม่จะแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเฉพาะโปรแกรมเท่านั้น

      2. ความเที่ยงตรง (Accuracy) จะอยู่ระดับเดียวกันตลอดช่วงความเร็วรอบและอัตราป้อนที่ใช้ทำการผลิต

      3. ใช้เวลาในการผลิต (Production Time) สั้นกว่า

      4. สามารถใช้ผลิตชิ้นงาานที่มีรูปร่างซับซ้อนได้ง่าย

      5. การปรับตั้งเครื่องจักรสามารถทำได้ง่าย ใช้เวลาน้อยกว่ากว่าการผลิตด้วยวิธีอื่น

ข้อเสีย NC

    1. ราคาเครื่องจักรมีราคาค่อนข้างสูง

     2. การบำรุงรักษามีความซับซ้อนมาก

     3. จำเป็นต้องใช้ช่างเขียนโปรแกรม (Part programmer) ที่มีทักษะสูงและฝึกอบรมมาโดยเฉพาะ

     4. ชิ้นส่วนที่ใช้ในการซ่อมบลำรุง ไม่สามารถผลิตได้ภายในประเทศ จำเป็นต้องสั่งซื้อหรือนำเข้าจากต่าง   
              
         ประเทศ

     5. การซ่อมบำรุงจะต้องใช้ช่างที่มีประสบการณ์สูงและผ่านการฝึกอบรมมาโดยเฉพาะ





เครื่องจักร CNC

คือ  CNC เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง

ลักษณะการทำงานของเครื่อง CNC

     การควบคุมเครื่องซีเอ็นซี แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 

        1. ระบบควบคุมการเคลื่อน (Movement)

        2. ระบบควบคุมความเร็วของการเคลื่อนที่ (Speed)

ข้อดี CNC

        1. ใช้เวลาในการผลิต ( Production Time ) สั้นกว่าเครื่องจักรทั่วไป

          2.มีความยืดหยุ่นในกระบวนการผลิตสูง

          3.ผลิตชิ้นงานที่มีรูปทรงซับซ้อนได้ง่าย

          4.ลดความจำเป็นที่ต้องใช้ช่างที่มีความชำนาญทักษะและประสบการณ์สูงในการผลิตชิ้นงาน

          5.ชิ้นงานได้ขนาดและมีความเที่ยงตรง ( Accuracy ) ทุกชิ้น

          6.ประหยัดเวลาและลดต้นทุนในการผลิตชิ้นงานที่เหมือน ๆ กันเป็นจำนวนมาก ๆ

ข้อเสีย CNC

          1.ราคาเครื่องจักร CNC ค่อนข้างสูง

          2. การซ่อมบำรุงมีความซับซ้อนมากต้องใช้ช่างที่มีความชำนาญและประสบการณ์สูง

          3. จําเป็นต้องใช้ช่างเขียนโปรแกรมที่มีทักษะและประสบการณ์ที่ผ่านการฝึกอบรมมาโดยเฉพาะ

          4. ชิ้นส่วนหรืออะไหล่ของตัวเครื่องจักร CNC ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศเพราะภายใน ประเทศไม่         

               สามารถผลิตได้




เครื่องจักร DNC

           คีอ Distribution Numerical Control: DNC SYSTEM คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเวลาเดียวกัน

          SUPER-DNC SOFTWARE คือ โปรแกรมควบคุมระบบ DNC ที่มีความทันสมัย มีสเถียรภาพและสามารถสื่อสารกับเครื่องจักรกลระบบ CNC ได้หลากหลายรุ่นและหลายยี่ห้อ ทั้งเครื่องที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดหรือเครื่องเก่าที่มีอายุใช้งานและถูกสร้างขึ้นมานานนับ 10 ปีแล้วก็ตาม

คุณลักษณะมาตรฐาน Standard Features of SUPER-DNC System


        1. การเรียกโปรแกรม NC Data ที่ต้องการ โดยรับส่งโดยตรงระหว่างเครื่องจักรกลระบบ CNC กับคอมพิวเตอร์ที่ให้

บริการ (SUB Program Calling) โดยการเรียกโดยตรงที่หน้าเครื่องจักรกลระบบ CNC

          2. การให้บริการกระจายข้อมูลโปรแกรม NC Data ในแบบเครื่องข่ายโดยมี Server เป็นศูนย์กลางการติดต่อรับส่ง

ข้อมูลโปรแกรม NC Data กับเครื่องจักรกลระบบ CNC ทุกเครื่องในเครือข่าย โดยมีสถานี Client Station ซึ่งเป็นสถานี

Generate (สร้าง) หรือ INPUT หรือ EDIT ข้อมูลโปรแกรม NC Data เพื่อส่งเข้าสู่ Server กลางได้

(Client – Server Configuration System)

          3. การเริ่มกัดงานใหม่ต่อจากการกัดที่หยุดค้างไว้เดิม (Start Cutting from any program line) กรณีที่มีการหยุดกัด

งานกลางคัน เช่น Tool สึกหรือ Tool แตก จำเป็นต้องหยุดค้างโปรแกรมไว้เพื่อเปลี่ยน Tool ใหม่ จากนั้น

Software SUPER-DNC สามารถส่งต่อข้อมูลโปรแกรม NC Data ในบรรทัดต่อไปได้ โดยไม่ต้องเริ่มงานใหม่ทั้งหมด

          4. สามารถกำหนด Protocols พิเศษต่างๆ (เครื่องจักรเก่าๆ หรือที่ไม่แพร่หลายในตลาด) โปรแกรม SUPER-DNC

สามารถติดต่อกับเครื่องจักรกลระบบ CNC ที่มี Protocol ที่แตกต่างกันได้อย่างหลากหลายและกว้างขวาง

 (Special Protocols for CNC Machines)

          5. การทำงานแบบ Auto-Search สำหรับส่ง Sub Programs หลายๆ โปรแกรมเรียงไปตามลำดับไปยัง

เครื่องจักรเป้าหมาย

ข้อดี DNC

       1. มีความยืดหยุ่นในการทำงานสูง 

        2. ความเที่ยงตรง

        3. ใช้เวลาในการผลิตสั้นกว่า


        4. สามารถใช้ผลิตชิ้นงาานที่มีรูปร่างซับซ้อนได้ง่าย

ข้อเสีย DNC

      1. ราคาเครื่องจักรมีราคาค่อนข้างสูง

        2. การบำรุงรักษามีความซับซ้อนมาก









































































วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีการสื่อสาร



   
 

สมาร์ทโฟน oppo

     สมาร์ทโฟนเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินชีวิตและเป็นมากกว่าใช้งานในการเชื่อมต่อสื่อสารเพียงเท่านั้น การใช้งานฟังก์ชันต่างๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยย่อโลกทั้งใบให้ง่ายเพียงปลายนิ้วของคุณ และเก็บทุกความประทับใจ ทุกความทรงจำไว้ในสมาร์ทโฟนคู่ใจ OPPO จึงมุ่งมั่นพัฒนาเทคโนโลยีการถ่ายภาพเพื่อมอบแรงบันดาลใจและสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่ผู้ใช้งาน 

    เทคโนโลยีประมวลผลภาพอันชาญฉลาด Pure Image (PI) จึงเกิดขึ้นและถูกพัฒนาฟังก์ชันการใช้งานอย่างต่อเนื่อง ทำให้ OPPO เป็นผู้นำเทคโนโลยีการถ่ายภาพในอุตสาหกรรมสมาร์ทโฟน จึงเกิดการบอกต่อจากประสบการณ์การใช้งานจากผู้ใช้งานจริงทั่วโลก ผ่านการใช้งานฟังก์ชั่นต่างๆ 

ข้อดี

- วัสดุแข็งแรง
- เครื่องดูทึก
- เหมาะมือดีอ่ะ
- เสียงดี
- ดูหนังหนุกมากๆ ภาพ HD แจ่มมาก
- ระบบลื่นไหลดี สไลด์ไว (ชอบ)
ใช้สื่อสารถึงกันได้ตลอดเวลา ได้ทุกสถานที่และรวดเร็ว
โทรศัพท์มือถือสามารถทำได้ทุกอย่างไม่ว่าจะเป็น สื่อสาร ส่งข้อความ ถ่ายรูป ฟังเพลงเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

ข้อเสีย

- หนักไปหน่อย
- เครื่องร้อนไว
- อะไหล่แพง
โรคไม่จริงใจเนื่องจากการพูดคุยทางโทรศัพท์ไม่ต้องเห็นหน้าตา ท่าทาง สายตาและปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ทำให้หลายคนสามารถใช้คำหวานหลอกลวง หรือพูดโกหกผู้อื่นหรือนิยมส่ง SMS ไปยังอีกฝ่าย ทำเสมือนรักใคร่ ผูกพันหรือห่วงใย
โรคขาดมนุษยสัมพันธ์คนส่วนใหญ่จะใช้มือถือพูดคุยกันกับญาติสนิท ขาดความใส่ใจที่จะสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น หลบมุมโทรไปคุยกับเพื่อน/แฟนแทนที่จะคุยกับพ่อแม่ผู้ปกครองหรือทำกิจกรรม ทำให้ความสัมพันธ์ในบ้านห่างเหิน


 

  จุ๊ฟๆๆ !!!!
















วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

วิชา คอมพิวเตอร์ให้งานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชา คอมพิวเตอร์ให้งานอุตสาหกรรม

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 ระบบประมวลผล
บทที่ 5 เครื่องจักรกล NC
บทที่ 6 หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
บทที่ 7 ระบบขนถ่ายวัสถุอัตโนมัติ
บทที่ 8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ
บทที่ 9 PLC / PC
บทที่ 10 คอมพิวเตอร์กับงาานผลิต

ประวัติส่วนตัว


ประวัติส่วนตัว







ชื่อ : นาย  ธัณวัตร์  แก้วบุษบา
ชื่อเล่น : ธัณ   อายุ 20 ปี
รหัสนักศึกษา :  606705056
เกิดวันที่ : 23  เดือน  มีนาคม  พ.ศ.  2540
จบมาจาก : วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่
สาขา : เทคนิคยานยนต์
มาศึกษาต่อ    ณ  มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
คณะ :  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สาขา :  เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ที่อยู่ปัจจุบัน : 140 ม.2 ต.เกาะสะบ้า  อ.เทพา  จ.สงขลา
เบอร์โทรศัพท์  :  081-3577871
Facebook  :  thannawat  tkk
Gmail  :  606705056@parichat.skru.ac.th
ประวัติการศึกษา
-          จบมัธยมศึกษาจาก  โรงเรียนเทพา  ม. 1 – 6

-          จบ ปวส.จาก วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่  สาขา เทคนิคยานยนต์

สมาชิกการจัดการห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน           อาจารย์  ธภัทร  ชัยชูโชค    อาจารย์  ปาล์ม 1. นายเกียรติศักดิ์  เกตุอักษร    ไฟร์ 2. นายจรณะ  แท่งท...